ผลสำรวจ (Peace Survey) แม้นเหตุการณ์ยังไม่สงบ-ความเชื่อมั่นต่อรัฐบาลลดลง แต่ภาคประชาชนพร้อมหนุนกระบวนการสันตภาพ

ฟาตอนีออนไลน์

 

ผลสำรวจสันติภาพชายแดนใต้ (Peace Survey) เผยประชาชนชายแดนใต้มีความหวังและอยากเห็นความก้าวหน้าของการพูดคุยสันติภาพ แม้จะมองว่าสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ยังไม่เปลี่ยนแปลงและความเชื่อมั่นต่อรัฐบาลลดลง แต่ก็พร้อมหนุนกระบวนการสันติภาพ

16 ปีไฟใต้...ชาวบ้านกว่าครึ่งไม่รู้-ไม่อยากพูด "ใครตัวการก่อรุนแรง"

สำนักข่าวอิศรา

 

ควันหลงจากการแถลงผลสำรวจสันติภาพชายแดนใต้ หรือ Peace Survey ครั้งที่ 5 เมื่อวันสุดท้ายของเดือน ก.พ.ปี 63 มีข้อสังเกตน่าสนใจเกี่ยวกับการตอบคำถามว่าอะไรคือสาเหตุของความรุนแรงที่ปลายด้ามขวาน

เพราะประชาชนส่วนใหญ่เลือกตอบว่า "ไม่รู้" และ "ไม่ขอตอบ"

ตัวแทนเครือข่าย PEACE SURVEY นำเสนอผลสำรวจความคิดเห็นประชาชนในพื้นที่ชายแดนใต้ต่อกระบวนการสันติภาพครั้งที่ 5

วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2563 ตัวแทนเครือข่าย PEACE SURVEY นำเสนอผลสำรวจความคิดเห็นประชาชนในพื้นที่ชายแดนใต้ต่อกระบวนการสันติภาพครั้งที่ 5 ณ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยเผยว่า สถานการณ์ 5 อับดับแรกที่ประชาชนคิดว่าเข้าข่ายการละเมิด #สิทธิมนุษยชน ได้แก่:

24 องค์กร เผย​ Peace Surway 7 มาตรการแก้ไฟใต้​ ​อ.ศรีฯ​ ชี้คีย์เวิรด​ 3 ตัวเลือก คือ​ ยาเสพติด ค้าของเถื่อน ผู้มีอิทธิพล

24 องค์กร เผย​ Peace Surway 7 มาตรการแก้ไฟใต้​ ​อ.ศรีฯ​ ชี้คีย์เวิรด​ 3 ตัวเลือก คือ​ ยาเสพติด ค้าของเถื่อน ผู้มีอิทธิพล

เครือข่ายวิชาการ 24 องค์กร เผยผลสำรวจสันติภาพชายแดนใต้พบว่าประชาชนชายแดนใต้มีความหวังและอยากเห็นความก้าวหน้าของการพูดคุยสันติภาพ แม้จะมองว่าสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ยังไม่เปลี่ยนแปลงและความเชื่อมั่นต่อรัฐบาลลดลง แต่ก็พร้อมหนุนกระบวนการสันติภาพ

โจทย์ท้าทายพูดคุยสันติสุข รอบใหม่

โจทย์ท้าทายพูดคุยสันติสุข รอบใหม่ จากทัศนะของ นายอาบูฮาฟิช อัลฮากิม โฆษกกลุ่มมาราปาตานี นาย กัสตูรี มะห์โกตา ประธานกลุ่มพูโล เเละนายอาซัน ตอยิบ อดีตหัวหน้าคณะพูดคุยบีอาร์เอ็น

#ThaiPBSศูนย์ข่าวภาคใต้

ชายแดนใต้ : ยิ่งแก้ คะแนนประยุทธ์ยิ่งตก โพลล์ชี้คนพื้นที่ก้ำกึ่งจะเห็นความสงบใน 5 ปี

ข่าวจาก : บีบีซี ไทย

นำเสนอโดย หทัยกาญจน์ ตรีสุวรรณ ผู้สื่อข่าวบีบีซีไทย

 

กระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้ในยกที่ 2 กำลังจะเกิดขึ้นในช่วงต้นเดือน มี.ค. ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย หลังไทยเปิดตัวกลุ่มบีอาร์เอ็นร่วมโต๊ะเจรจารอบใหม่ ทว่าโพลล์ของเครือข่ายวิชาการกลับสะท้อนว่าประชาชน 37.9% หมดหวังจะเห็นสันติภาพเกิดขึ้นภายใน 5 ปีนี้

ความเป็นมาของการพูดคุยสันติภาพครั้งใหม่ระหว่างรัฐไทย กับขบวนการ BRN ที่กัวลาลัมเปอร์

สัมภาษณ์อาจารย์ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี ถึงความเป็นมาของการพูดคุยสันติภาพครั้งใหม่ระหว่างรัฐไทย กับขบวนการ BRN ที่กัวลาลัมเปอร์ เมื่อต้นสัปดาห์ที่ผ่านมา เจาะลึกทิศทางและบทบาทใหม่ของฝ่ายไทย บทบาทของฝ่ายที่ 3 ที่ปรากฎบนโต๊ะเจรจาครั้งนี้ และหลายคำถาม-คำตอบต่อ BRN