การแถลงผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ด้านผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาด โควิด-19 และมาตรการของรัฐ

สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้

ขอเชิญร่วมรับฟัง

#TALK1

การแถลงผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ด้านผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาด โควิด-19 และมาตรการของรัฐ

นำเสนอโดย

การเมืองการเลือกตั้งของนักการเมืองท้องถิ่นชายแดนใต้ท่ามกลางบริบทความรุนแรง

Publication: การเมืองการเลือกตั้งของนักการเมืองท้องถิ่นชายแดนใต้ท่ามกลางบริบทความรุนแรง

วารสาร:

  • วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2563

ปีที่พิมพ์:

  • 2563

ผู้เขียน:

  • เอกรินทร์ ต่วนศิริ

รายละเอียด:

บทคัดย่อ

ระเบียบวิธีวิจัย

ระเบียบวิธีวิจัย

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ประชากรของการสำรวจครั้งนี้ประกอบด้วย ประชาชนทั่วไปและผู้นำความคิด ทั้งไทยพุทธและมุสลิมที่อาศัยอยู่ในจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสงขลาในอำเภอจะนะ เทพา นาทวี และสะบ้าย้อย

ประชาชนกลุ่มตัวอย่างเป้าหมายแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มได้แก่ กลุ่มประชาชนทั่วไปจำนวน 1,637  ตัวอย่าง และกลุ่มผู้นำความคิด (เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน ผู้นำสตรีในชุมชน) จำนวน 220 คน

แนวคิดการวิจัยเชิงสำรวจ

แนวคิดการวิจัยเชิงสำรวจ

นักวิจัยทำการวิจัยมิใช่เพื่อการค้นพบสัจธรรมหรือความจริงที่จริงแท้ยิ่งกว่าคนอื่น แต่เพื่อหาวิธีการค้นหาความน่าจะเป็นไปได้ที่จะเข้าใกล้สิ่งที่เรียกว่าความจริงโดยที่ตัวเองก็รู้ว่าเครื่องมือของตัวเองมีจุดอ่อนและมีโอกาสความคลาดเคลื่อนอยู่ด้วยมากน้อยเพียงใด สิ่งที่เรากำลังทำนี้เรียกว่าระเบียบวิธีวิจัยเชิงสำรวจ 

การสื่อสารสาธารณะเพื่อแปรเปลี่ยนความขัดแย้งในกระบวนการสันติภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้

การสื่อสารสาธารณะเพื่อแปรเปลี่ยนความขัดแย้งในกระบวนการสันติภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิทัศน์การสื่อสารและการสื่อสารออนไลน์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อศึกษาบทบาทของสื่อภาคประชาชนจังหวัดชายแดนภาคใต้ในการเปิดพื้นที่ของแลกเปลี่ยนความคิ