บรรยายวิชาการสาธารณะ เรื่อง “การเขียนบทความวิชาการ/บทความวิจัย เพื่อตีพิมพ์วารสารระดับนานาชาติฐาน Scopus” โดย Dr.Paul Chambers

วันจันทร์ที่ 16 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องประชุมสถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ จัดบรรยายวิชา

ต้อนรับเอกอัครราชทูตสมาพันธรัฐสวิส ประจำประเทศไทย

เมื่อวันพุธที่ 11 พฤศจิกายน 2563​ ณ ห้องประชุมปัตตานีภิรมย์ ชั้น 3 สำนักงานวิทยาเขตปัตตานี H.E. Mrs.

การสำรวจความคิดเห็นของคนรุ่นใหม่นอกพื้นที่ที่มีต่อความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้

รายงานผลการสำรวจความคิดเห็นของคนรุ่นใหม่นอกพื้นที่ที่มีต่อความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้

โดย ศูนย์ความร่วมมือทรัพยากรสันติภาพ และสถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

กรกฎาคม 2563

ดาวน์โหลดเอกสาร

 

เสวนาวิชาการ “อิสลาม การเมือง และประชาธิปไตย: ประสบการณ์และข้อท้าทายจากการเมืองตุรกี”

วงเสวนาวิชาการ(ออนไลน์)ว่าด้วยเรื่อง “อิสลาม การเมือง และประชาธิปไตย: ประสบการณ์และข้อท้าทายจากการเมืองตุรกี” ผ่านทางแฟนเพจ ศูนย์ศึกษาตุรกี Turkish Studies Cent

เสวนาว่าด้วยเรื่องรัฐธรรมนูญที่เอื้อต่อความฝันของคนชายแดนภาคใต้

เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม  2563 ที่ผ่านมา ณ คณะวิทยาการสื่อสาร ม.อ.ปัตตานี ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี อาจารย์สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมเป็นวิทยากรเสวนา ในหัวข้อ

พลวัตความเคลื่อนไหวของนักการเมืองมลายูมุสลิมท่ามกลางความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนใต้

บทความวิจัยเรื่อง "พลวัตความเคลื่อนไหวของนักการเมืองมลายูมุสลิมท่ามกลางความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนใต้" โดย นายอิมรอน ซาเหาะ และ ดร.ยาสมิน ซัตตาร์ ตีพิมพ์ในเอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการว่าด้วยเรื่อง “ชายแดนใต้: พื้นที่ ผู้คน และข้อเสนอเชิงนโยบาย” เป็นบทความที่มาจากรายงานวิจัยของ 9

ร่วมนำเสนอผลงานวิจัยในงานสัมมนาวิชาการว่าด้วยเรื่อง “ชายแดนใต้: พื้นที่ ผู้คน และข้อเสนอเชิงนโยบาย”

เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2563 ที่ผ่านมา นายอิมรอน ซาเหาะ จากสถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พร้อมด้วย ดร.ยาสมิน ซัตตาร์ จากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้าร่วมนำเสนอผลการศึกษาโครงการวิจัยเรื่อง “พลวัตความเคลื่อนไหวของนักการเมืองมลายูมุสลิมท่ามกลางความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนใต้” ในงานสัมมนาวิชาการว่าด้วยเรื่อง “ชายแดนใต้: พื้นที่ ผู้คน และข้อเสนอเชิงนโยบาย” รายงานวิจัยภายใต้ชุดโครงการงานวิจัยประเด็นวิจัยเชิงยุทธศาสตร์จังหวัดชายแดนภาคใต้ (SRI 13) จัดโดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) (ศมส.) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิ

วงเวียนวิจัย#7 "พลวัตปกครอง(พื้นที่)พิเศษในสังคมที่มีผู้คนหลากหลายวัฒนธรรม"

สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ (CSCD)​ สถาบันสันติศึกษา​ (IPS)​ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU) ร่วมกับ ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ (Deep South Watch) ร่วมจัดกิจกรรมวงเวียนวิจัย ครั้งที่ 7 ในหัวข้อ พลวัตปกครอง(พื้นที่)พิเศษ ในสังคมที่มีผู้คนหลากหลายวัฒนธรรม

เมื่อวันศุกร์ที่ 23 ตุลาคม 2563 เวลา 13.30 – 16.30 น. ณ ห้องประชุมสถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ อาคารเรือนพักรับรอง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

นำเสนอสองงานวิจัย