สถานวิจัยความขัดแย้งฯ และศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ ให้การต้อนรับ รองเลขานุการทูต สหราชอาณาจักร ประจำกรุงเทพมหานคร

วันที่ 23 มกราคม 2563 เวลา 13.00 น.

Mr.Chris Goff รองเลขานุการทูต สหราชอาณาจักร ประจำกรุงเทพมหานคร เข้าร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสถานการณ์จังหวัดชายแดนภาคใต้และผลงานวิจัยของสถานวิจัยฯ พร้อมประชาสัมพันธ์ข้อมูลทุน Chevening ของประเทศอังฤษ

โดยมี ผศ.ดร.กุสุมา กูใหญ่ รักษาการผู้อำนวยการ สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี ผู้อำนวยการ ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ และ รอมฎอน ปันจอร์ Curator ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ ให้การต้อนรับและพูดคุยแลกเปลี่ยนในครั้งนี้

สถานวิจัยความขัดแย้งฯ เข้ามอบของที่ระลึกและสวัสดีปีใหม่ รองอธิการบดี ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

วันที่ 20 มกราคม 23563

ผศ.ดร.กุสุมา กูใหญ่ ผู้อำนวยการสถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรม พร้อมคณาจารย์ และบุคลากร
เข้ามอบของที่ระลึกสวัสดีปีใหม่ รศ.อิ่มจิต เลิศพงษ์สมบัติ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

การเปลี่ยนผ่านทางการเมืองและการสื่อสารเพื่อสร้างสันติภาพ : แนวคิดและประสบการณ์

Publication: การเปลี่ยนผ่านทางการเมืองและการสื่อสารเพื่อสร้างสันติภาพ : แนวคิดและประสบการณ์

หนังสือ:

  • รวมปาฐกถาจากการประชุมวิชาการนานานชาติ (2557 - 2560)

ปีที่พิมพ์:

  • 2562

ผู้เขียน:

  • บรรณาธิการ : ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี, กุสุมา กูใหญ่, วลักษณ์กมล จ่างกมล, ฟารีดา ปันจอร์, รอมฎอน ปันจอร์, นิชาภา เชิงสมอ

รายละเอียด:

Side B อีกเสียงจากที่เขาบอกว่า... "เหตุการณ์รุนแรงลดลง"

Side B อีกเสียงจากที่เขาบอกว่า... "เหตุการณ์รุนแรงลดลง"

1 สัปดาห์ผ่านมา เหตุการณ์ถล่มป้อม ชรบ. ลำพะยา บอกอะไรบ้าง

นักการเมืองมลายูมุสลิมในพื้นที่ชายแดนใต้: ตัวตน โอกาส และข้อท้าทาย

Publication: นักการเมืองมลายูมุสลิมในพื้นที่ชายแดนใต้: ตัวตน โอกาส และข้อท้าทาย

วารสาร:

  • เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 21 เรื่อง ลดช่องว่างความเหลื่อมล้ำ สร้างคุณภาพประชาธิปไตย (Bridging the Inequality Gap and Nurturing Quality of Democracy)
  • วันที่ 1 - 3 พฤศจิกายน 2562

ปีที่พิมพ์:

  • 2562

ผู้เขียน:

  • อิมรอน ซาเหาะ
  • ยาสมิน ซัตตาร์

รายละเอียด:

สัมนาวิชาการ หัวข้อ การสร้างสันติภาพผ่านการสมานฉันท์ ด้วยความหลากหลายทางด้านศาสนา เพศ และอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนใต้ และจังหวัดอะเจะห์ ประเทศอินโดนีเซีย

โครงการสัมนาวิชาการ หัวข้อ การสร้างสันติภาพผ่านการสมานฉันท์ ด้วยความหลากหลายทางด้านศาสนา
เพศ และอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนใต้ และจังหวัดอะเจะห์ ประเทศอินโดนีเซีย

Locating Peace through harmonizing Religion, Gender, and Age: The Cases of Thailand’s Deep South and Indonesia’s Aceh

พรรคการเมืองมุสลิมในประเทศไทยกับแนวคิดอิสลามคือศาสนาแห่งสันติภาพ

Publication: พรรคการเมืองมุสลิมในประเทศไทยกับแนวคิดอิสลามคือศาสนาแห่งสันติภาพ

วารสาร:

  • เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ: วันสันติภาพสากล ครั้งที่ 3 "ศาสนากับสันติภาพ"
  • วันที่ 21 กันยายน 2561

ปีที่พิมพ์:

  • 2561

ผู้เขียน:

  • อิมรอน ซาเหาะ

รายละเอียด:

  • -

เว็บที่เกี่ยวข้อง:

  • -

ดาวน์โหลดเอกสาร:

  • -

ภาคประชาสังคมกับรัฐในความขัดแย้งและกระบวนการสันติภาพบังซาโมโร

Publication: ภาคประชาสังคมกับรัฐในความขัดแย้งและกระบวนการสันติภาพบังซาโมโร

วารสาร:

  • วารสารเอเชียปิทัศน์
  • ปีที่ 38/2 (2560) เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อัตลักษณ์ ชาติพันธุ์ และประวัติศาสตร์บาดแผล

ปีที่พิมพ์:

  • 2562

ผู้เขียน:

  • ฟารีดา ปันจอร์

รายละเอียด:

กลยุทธ์และรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับการบริหารสถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ = Appropriate strategies and models for administration of higher education institutions in the three southern border provinces

Publication: กลยุทธ์และรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับการบริหารสถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ = Appropriate strategies and models for administration of higher education institutions in the three southern border provinces

วารสาร:

  • วารสารพัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ 57
  • ฉ. 3 (กรกฎาคม - กันยายน 2560), หน้า 47-76 -- 0125-3689

ปีที่พิมพ์:

  • 2560

ผู้เขียน: