เอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทยเยือน ม.อ.ปัตตานี หารือข้อมูลวิชาการด้านสันติภาพ

🇬🇧 เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2566 เวลา 08.30 น. ณ ห้องประชุมปัตตานีภิรมย์ สำนักงานวิทยาเขตปัตตานี ฯพณฯ มาร์ก กูดดิง (H.E. Mr. Mark Gooding OBE) เอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย พร้อมผู้ติดตาม เดินทางเยือนมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

เอกอัครราชทูตสวิตเซอร์แลนด์ประจำประเทศไทยเยือน ม.อ.ปัตตานี ร่วมรับฟังข้อมูลงานวิจัยด้านสันติภาพ

เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องประชุมเจริญประดิษฐ์ สำนักงานวิทยาเขตปัตตานี ชั้น 3 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี คุณเปโดร สวาห์เลน (H.E. Mr.

UNICEF Thailand เยี่ยมเยียน CSCD รับฟังข้อมูลงานวิจัยชายแดนใต้

วันนี้ (22 มิถุนายน 2566) คณะทำงานจากองค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย นำโดย คุณเซฟเวอรีน ลีโอนาดี รองผู้อำนวยการ พร้อมด้วย คุณสันติ ศิริธีราเจษฎ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านคุ้มครองเด็ก และ คุณอลิญา หมัดหมาน เจ้าหน้าที่คุ้มครองเด็ก ได้เดินทางมายังห้องประชุมสถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ สถาบันสันติ

CSCD สถาบันสันติศึกษา จับมือเครือข่ายจัดอบรมการสร้างความสมานฉันท์ผ่านการสานเสวนาที่ครอบคลุมทุกฝ่าย

เมื่อวันที่ 27 – 28 พฤษภาคม 2566 ที่ผ่านมา ณ โรงแรม River Hotel จังหวัดปัตตานี คณะทำงานเครือข่ายภาควิชาการ สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ สถาบันสันต

สถาบันสันติศึกษา เปิดรายวิชาเลือกเสรีสำหรับนักศึกษา ม.อ.ปัตตานี

สถาบันสันติศึกษา ม.อ.หาดใหญ่ ขอเชิญชวนนักศึกษา ม.อ.ปัตตานี ลงทะเบียน(ข้ามวิทยาเขต)รายวิชาเลือกเสรี (3 หน่วยกิต)

เสียงประชาชนเลือกอนาคตชายแดนใต้ | ฟังเสียงประเทศไทย

สันติภาพ คุณภาพชีวิตดี เศรษฐกิจดี กระจายอำนาจรวมถึงความยุติธรรม สิ่งเหล่านี้อาจเป็นภาพความหวังของใครหลาย ๆ คน แล้วอะไรที่จะทำให้ความฝันนั้นเดินหน้าสู่อนาคตในอีก 10 ข้างหน้า นี่คือโจทย์ที่รายการฟังเสียงประเทศไทย ออกเดินทางไปรับฟังความคิดเห็นของประชาชนกันที่พื้นที่ชายแดนใต้ ซึ่งมีข้อท้าทายจากสถานการณ์ความไม่สงบที่เกิดขึ้นแต่ขณะเดียวกันในพื้นที่ก็มีศักยภาพสูงในหลายด้าน ทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลและชายฝั่งที่สมบูรณ์เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ มีต้นทุนที่ตั้งเหมาะสมและสามารถพัฒนาสินค้าฮาลาล และที่สำคัญมีทุนทางสังคมวัฒนธรรมที่เข้มแข็ง แล้วอะไรเป็นโจทย์สำคัญของทิศทางกระบวนการพูดคุยสันติภาพ บรรยาก

เลือกตั้ง 66 กำหนดอนาคตประเทศด้วยตัวเอง

14 พ.ค. 66 นี้ อย่าลืมไปเลือกตั้ง

เพราะการเลือกตั้งนั้นส่งผลกระทบกับการใช้ชีวิตของพวกเราโดยตรง

ที่มา แลต๊ะแลใต้ 

ประเทศไทยหลังเลือกตั้งที่ "คนใต้" อยากเห็น

หลังการเลือกตั้งอยากเห็นประเทศเป็นอย่างไร?

ชวนควังเสียง "คนใต้" กับความคาดหวังที่จะเห็นทิศทางการพัฒนาประเทศไทยหลังเลือกตั้ง

ที่มา แลต๊ะแลใต้

 

"บ้านใหญาในการเลือกตั้ง" ต่อสู้ ดิ้นรน รักษาอำนาจ

รายงานการวิจัยนี้ www.voicetv.co.th/read/-HnlKNGsM จะอธิบายการเมืองยุคหลังปี 2562 ที่ทำให้อำนาจของตระกูลการเมืองสามารถฟื้นคืนขึ้นมาได้ มรดกทางการเมืองแบบอัตตาธิปไตยและปฏิกิริยาตอบสนองต่อความมั่นคงทำให้เกิดตาข่ายใหม่ของระบบอุปถัมภ์ต่อตระกูลการเมือง

เลือกตั้ง66 : จับสัญญาณเลือกตั้งชายแดนใต้

เลือกตั้ง66 : จับสัญญาณเลือกตั้งชายแดนใต้

ที่มา https://thecitizen.plus/node/78889

สนามเลือกตั้งสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัตตานี-ยะลา-นราธิวาส ที่ถูกโอบล้อมด้วยกฎหมายพิเศษจากสถานการณ์ความไม่สงบที่เกิดขึ้นมายาวนาน เป็นพื้นที่ที่นโยบายความมั่นคงแทรกผ่านวิถีชีวิตของผู้คน ทำให้ประชาชนในพื้นที่มีความตื่นตัวทางการเมืองสูง รวมถึงกระแสการแก้ปัญหาในแนวทางสันติภาพหรือการพูดคุยสันติภาพ เป็นข้อท้าทายสำคัญที่จะทำอย่างไร ให้มีความก้าวหน้ามากกว่าเดิม เเน่นอนว่าสมรภูมิการเมืองที่ปลายด้ามขวานตอนนี้ดุเดือดไม่แพ้พื้นทีอื่นในภาคใต้