กระบวนการปรึกษาหารือสาธารณะออนไลน์ หัวข้อ “รูปแบบการปกครองในพื้นที่ชายแดนใต้ สำหรับคุณ เป็นอย่างไร”

เชิญชวนผู้สนใจทุกท่าน ร่วมกันแลกเปลี่ยน ในกระบวนการการปรึกษาหารือสาธารณะออนไลน์
ในหัวข้อ “รูปแบบการปกครองในพื้นที่ชายแดนใต้ สำหรับคุณ เป็นอย่างไร”
โดยเรามี 2 ช่องทางให้ทุกคนได้ร่วมมีส่วนร่วมในกระบวนการนี้

✅ทาง Zoom
วันที่ 14 ธันวาคม 2566 เวลา 20.00 - 22.00 น.
สามารถสแกนคิวอาร์โค้ดลงทะเบียนเพื่อรับลิ้งค์ซูม
หรือตามลิ้งค์ข้างล่างนี้

วงเวียนวิจัย #13 รับฟังการนำเสนอผลการวิจัย "การใช้ความรุนแรงด้วยอาวุธและค่านิยมปิตาธิปไตยในกองทัพ: การศึกษาเรื่องชีวิตทหารเกณฑ์กับประสบการณ์การสู้รบในจังหวัดชายแดนภาคใต้"

วงเวียนวิจัย#13
ขอเชิญร่วมรับฟังการนำเสนอผลการวิจัย
"การใช้ความรุนแรงด้วยอาวุธและค่านิยมปิตาธิปไตยในกองทัพ: การศึกษาเรื่องชีวิตทหารเกณฑ์กับประสบการณ์การสู้รบในจังหวัดชายแดนภาคใต้"
Armed Violence and Patriarchal Values: A Survey of Young Men in Thailand and Their Military Experiences
...
วันศุกร์ที่ 15 ธันวาคม 2566 เวลา 14.00-15.30 น.
ณ ห้องประชุมสถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
...
นำเสนอโดย

Norbert Ropers ผู้จุดประกายแนวทางและร่วมสร้างพื้นที่กลางสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี

“Norbert Ropers ผู้จุดประกายแนวทางและร่วมสร้างพื้นที่กลางสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี”

สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ (Deep South Watch) ขอเชิญรับฟังปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ

“หนึ่งทศวรรษของกระบวนการสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี”
(A Decade of the Patani Peace Process 2013-2023)
โดย Dr. Norbert H. Ropers ผู้อำนวยการ Peace Resource Collaborative (PRC)
และผู้เชี่ยวชาญอาวุโส สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

สถาบันสันติศึกษา เปิดรายวิชาเลือกเสรีสำหรับนักศึกษา ม.อ.ปัตตานี

วิชาเลือกเสรี 3 หน่วยกิต ปริญญาตรี
ภาคการศึกษาที่ 2/2566
.
● รายวิชา 950-301 ความขัดแย้งและสันติภาพในอาเซียน (CONFLICTS AND PEACE IN ASEAN)
>> วิทยาเขตหาดใหญ่
>>>> Sec. 01 ทุกวันพุธ 17.00-19.50 น.
>>>> Sec. 02 ทุกวันพฤหัสบดี 17.00-19.50 น.
>> วิทยาเขตปัตตานี
>>>> Sec. 03 เรียนวันจันทร์ 14.00-16.50 น.

ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี ได้รับรางวัลอาจารย์ตัวอย่างดีเด่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ขอแสดงความยินดีกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี อาจารย์ประจำสถาบันสันติศึกษา ได้รับรางวัลอาจารย์ตัวอย่างดีเด่น ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจำปี 2566 ด้านการวิจัยและนวัตกรรม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี ผู้ได้รับการคัดเลือกเป็นบุคลากรผู้อุทิศตน บำเพ็ญประโยชน์เพื่อผู้อื่น ประจำปี 2566

สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ (CSCD) สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอแสดงความยินดีกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี ผู้ได้รับการคัดเลือกเป็นบุคลากรผู้อุทิศตน บำเพ็ญประโยชน์เพื่อผู้อื่น วิทยาเขตหาดใหญ่ ประจำปี 2566

วัดปรอทปาตานี/ชายแดนใต้ Ep.5 "กรรมาธิการวิสามัญสันติภาพฯ ความสำคัญและความคาดหวังของประชาชนชายแดนใต้"

รายการวัดปรอทปาตานี/ชายแดนใต้ Ep.5

หัวข้อ "กรรมาธิการวิสามัญสันติภาพฯ ความสำคัญและความคาดหวังของประชาชนชายแดนใต้"

วันเสาร์ ที่ 4 พ.ย. 2566 นี้ เวลา 2 ทุ่มเป็นต้นไป ชมไลฟ์ผ่านเพจ The Poligens News

ดำเนินรายการร่วมโดย
อิมรอน ซาเหาะ กับ ตูแวดานียา ตูแวแมแง

ผู้ร่วมเสวนาโดย
-นายนัจมุดดีน อูมา ประธานคณะทำงานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและกรรมาธิการวิสามัญสันติภาพชายแดนใต้

-ทนายอาดีลัน อาลีอิสเฮาะ
กรรมาธิการวิสามัญฯสันติภาพชายแดนใต้

มหานครวิพากษ์ ท้องถิ่นขอ “จัดการตนเอง” EP.7 กระจายอำนาจ วิถีแห่งสันติ เบิกทาง “ดับไฟใต้”

“รูปแบบปกครองพิเศษ” ไปจนถึง “จังหวัดจัดการตนเอง” ในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ สำหรับรัฐไทย ยังคงมองเป็น “คำต้องห้าม” หากเปรียบกับวิธีการแก้ปัญหาความไม่สงบ ที่ทุ่มสรรพกำลังลงไปตลอดเกือบ 20 ปี

สิ่งที่รัฐมองอาจตรงกันข้ามกับเสียงสะท้อนจากประชาชน ผ่าน Peace Survey ครั้งที่ 7 ปี 2566 ส่วนใหญ่คาดหวัง และอยากเห็น “การกระจายอำนาจ” ที่มากกว่าเดิม เกิดขึ้นในดินแดนปลายด้ามขวาน