วงเสวนาแลกเปลี่ยนและจัดทำข้อเสนอ “ปรึกษาหารือประชาชน : จะเอาอย่างไรกับกระบวนการสันติภาพ”

ips cscd

กำหนดการ

เสวนาแลกเปลี่ยนและการจัดทำข้อเสนอ

 “ปรึกษาหารือประชาชน : จะเอาอย่างไรกับกระบวนการสันติภาพ”

ภายใต้โครงการ

การสร้างสันติภาพอย่างครอบคลุมในจังหวัดชายแดนใต้  

(Inclusive Peacebuilding in Thailand's Southern Border Provinces)

วันอาทิตย์ที่ 5 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09.00 - 15.30 น.

ณ ห้องประชุมศรีวังสา คณะรัฐศาสตร์ มอ.ปัตตานี

จัดโดย สถาบันสันติศึกษา สมาคมร่วมสร้างชุมชนศรัทธากัมปงตักวา สภาประชาสังคมชายแดนใต้

เครือข่ายวิชาการ Peace Survey สมัชชาประชาสังคมเพื่อสันติภาพ Projek SAMA SAMA และ

Minority Rights Group International (MRG) สนับสนุนโดย สหภาพยุโรป (EU)

 

เวลา

หัวข้อและวิทยากร

09.00 - 09.30 น.

ลงทะเบียน

09.30 - 09.50 น.

กล่าวต้อนรับ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรุณีวรรณ บัวเนี่ยว

รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพันธกิจสังคม วิทยาเขตปัตตานี

 

กล่าวเปิดงาน

คุณรอมฎอน ปันจอร์

รองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาศึกษาและเสนอแนวทางการส่งเสริมกระบวนการสร้างสันติภาพเพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้

09.50 – 10.10 น.

นำเสนอ “ผลการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนต่อกระบวนการสันติภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ Peace Survey ครั้งที่ 7”

โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี เครือข่ายวิชาการ Peace Survey

 

10.10 - 10.30 น.

นำเสนอผลการวิจัย “การศึกษาคุณภาพชีวิตในกลุ่มผู้เปราะบางเพื่อการสร้างสันติภาพอย่างครอบคลุมในจังหวัดชายแดนใต้”

โดย นางฟารีดา ปันจอร์ สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ นายแวรอมลี แวบูละ นายกสมาคมร่วมสร้างชุมชนศรัทธา กัมปงตักวา

 

10.30-10.40 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

10.40 – 12.00 น.

เปิดเวทีแลกเปลี่ยน ขอถามประชาชน.. กระบวนการสันติภาพชายแดนใต้จะเดินหน้าไปอย่างไร? ช่วงที่ 1

นำกระบวนการโดย

ผศ.ดร.สมัชชา นิลปัทม์    อาจารย์ประจำคณะวิทยาการสื่อสาร มอ.ปัตตานี

นางสาวรอฮานี จือนารา   นักวิชาการอิสระและคณะทำงานวาระผู้หญิงชายแดนใต้

นายซาฮารี เจะหลง        บรรณาธิการ The Motive และเจ้าหน้าที่ฝ่ายกิจการฮาลาล    สำนักงานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดปัตตานี

 

12.00 - 13.00 น.

พักรับประทานอาหารกลางวัน/ประกอบศาสนกิจ

13.00 - 13.15 น.

สรุปประเด็นโดยทีมวิชาการ 

13.15 - 14.30 น.

เวทีแลกเปลี่ยน ระดมความเห็นเพื่อหาข้อเสนอแนะจากการปรึกษาหารือภาคประชาชน ขอถามประชาชน.. กระบวนการสันติภาพชายแดนใต้จะเดินหน้าไปอย่างไร? ช่วงที่ 2

 

นำกระบวนการโดย

นายมะยุ เจ๊ะนะ ผู้อำนวยการสมัชชาประชาสังคมเพื่อสันติภาพ (CAP)

นางฟารีดา ปันจอร์ อาจารย์ประจำสถาบันสันติศึกษา

นายอิมรอน ซาเหาะ เจ้าหน้าที่/นักวิจัย สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ สถาบันสันติศึกษา

 

14.30- 14.45  น.

สรุปประเด็นโดยทีมวิชาการ

ดร.ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

นายฆอซาลี อาแว ฆอซาลี อาแว. ตำแหน่ง : เจ้าหน้าที่วิจัย ประจำศูนย์สันติวิธีชายแดนใต้ สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

14.45 –15.00 น.

กรรมาธิการสันติภาพฯ สะท้อนข้อคิดเห็นจากเวทีและรับข้อเสนอจากภาคประชาชน

15.00 -15.10 น.

กล่าวขอบคุณและปิดงาน