สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอเชิญร่วมงาน
12 ปี CSCD กับทิศทางความรู้เรื่องชายแดนใต้
วันที่ 18-19 สิงหาคม 2563 เวลา 13.00 - 17.00 น. ณ อาคารสถานวิจัยความขัดแย้งฯ ม.อ.ปัตตานี
กำหนดการ
วันที่ 18 สิงหาคม 2563 เวลา 13.00 - 17.00 น.
-
บรรยายพิเศษ : “สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ : จากจุดเริ่มต้นสู่ความเข้มแข็งในอนาคต” โดย รศ.ดร.บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ ผู้อำนวยการสถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-
เปิดตัวหนังสือ ผู้เขียน: ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้
-
ระเบียบวิธีวิจัย : วาทกรรมว่าด้วยวิธีวิทยาในการวิจัยทางรัฐศาสตร์ นโยบายศาสตร์ และสันติศึกษา
-
การเมืองการปกครองและการจัดการความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปาตานี)
-
-
เสวนาสะท้อนคิดจากหนังสือ
-
ศ.ดร.ฉันทนา บรรพศิริโชติ หวันแก้ว คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-
ผศ.ดร.สุกรี หลังปูเต๊ะ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-
รอมฎอน ปันจอร์ ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ (Deep South Watch)
-
-
เสวนา : พื้นที่กลางและสนามของความรู้ในความขัดแย้งชายแดนใต้
-
พลเอกเอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อำนวยการสำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า
-
นัจมุดดีน อูมา โครงการพื้นที่กลางสร้างสันติภาพจากคนใน (IPP)
-
ลม้าย มานะการ คณะทำงานวาระผู้หญิงชายแดนใต้
-
แวอิสมาแอล์ แนแซ ผู้อำนวยการวิทยาลัยประชาชน
-
สมเกียรติ จันทรสีมา ผู้อำนวยการสำนักเครือข่ายสื่อสาธารณะ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
-
ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี สถานวิจัยความขัดแย้งฯ สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-
วันที่ 19 สิงหาคม 2563 เวลา 13.00 - 16.30 น.
วงเวียนวิจัย ครั้งที่ 6 : นำเสนอผลการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และกระบวนการสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้ ปี 2562
-
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจในการพัฒนาอำเภอเบตง จังหวัดยะลา ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ โดย ดร.ชาคร ประพรหม
-
การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส) ในการรับรองการเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โดย ดร.วาสนา คงขันธ์และคณะ
-
การพัฒนาการคิดเชิงสมานฉันท์ของผู้เรียนในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ โดย ดร.ธีระยุทธ รัชชะและคณะ
-
การพัฒนารูปแบบการยกระดับผลการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนขยายโอกาส : กรณีศึกษานวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปิด (Open Approach) โดย ดร.รัชดา เชาวน์เสฏฐกุล
-
ชุมชนเยียวยาจิตใจผู้เสียหาย/ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบด้วยกระบวนการประยุกต์ศาสตร์สมอง โดย ผศ.ดร.ปรียา แก้วพิมลและคณะ
-
บทบาทภาคประชาสังคมกับการสร้างสันติภาพในบริบทอาเซียน กรณีศึกษาประเทศฟิลิปปินส์ อินโดนิเซียและไทย โดย ดร.ฆายนีย์ ช. บุญพันธ์ (Online)
-
การวิจัยและพัฒนา เยียวยาสมานฉันท์ และสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะชายแดนใต้ โดย ดร.มายือนิง อิสอ
ดำเนินรายการโดย ผศ.ดร.กุสุมา กูใหญ่ รองผู้อำนวยการสถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์